วันพุธที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Learning log 9

(บันทึกการเรียนครั้งที่9)


Friday  12  Octorber 2018  (วันศุกร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2561)  

 Time: 8.30-12.30 am.



➤Knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)

 วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอการทดลองของเเต่ละคน จากเเผ่นความรู้บ้านวิทยาศาสตร์ ดังนี้👇




นางสาวอรอุมา  ศรีท้วม  (ทดลองเรื่อง  ปริมาณน้ำในเเก้วเท่ากันหรือไม่)

วิธีการทดลอง

นำเเก้ว 3 ใบที่ มีความเเตกต่างกันจากขนาดเเละรูปทรงมาวางเรียงกัน เเละนำน้ำเทใส่ในปริมาณที่เท่ากันเเละสังเกตว่าน้ำในเเก้วเเต่ละใบมีปริมาณที่ต่างกันอย่างไร



สรุปการทดลอง

การที่น้ำภายในเเก้วดูมีปริมาณที่ต่างกันเพราะเเก้วมีขนาดเเละรูปทรงที่ต่างกัน จึงทำให้เห็นว่าปริมาณน้ำในเเก้วต่างกัน ทั้งที่เทน้ำใส่ในปริมาณที่เท่ากัน



นางสาวณัฐธิดา   ธรรมเเท้  (ทดลองเรื่อง น้ำมะนาวโซดาเเสนอร่อย )

วิธีการทดลอง

นำเบกกิ้งโซดาเเละกรดมะนาวมาใส่ในน้ำเเล้วใส่น้ำเเดงลงไปเเละลองสังเกตความเปลี่ยนเเปลง

สรุปการทดลอง

การที่นำเบกกิ้งโซดาเเละกรดมนาวใส่ลงไปในน้ำที่เตรียมไว้จะทำให้เกิดฟองขึ้น เเต่เมื่อใส่น้ำเปล่าลงไปจะไม่มีการเกิดปฏิกิริยาเเต่อย่างใดกับน้ำที่เตรียมไว้




นางสาวปวีณา  พันธ์กุล  (ทดลองเรื่อง  การเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์)

วิธีการทดลอง

การนำน้ำมะนาว  ใส่ลงในผงฟู  น้ำตาล  เกลือเเละเบกกิ้งโซดาจะเกิดอะไรขึ้น

สรุปการทดลอง

เมื่อนำน้ำมะนาวใส่ลงไปในเกลือเเละน้ำตาลจะไม่เกิดอะไรขึ้น
เมื่อนำน้ำมะนาวใส่ลงไปในผงฟูจะเกิดฟองขึ้น
เมื่อนำน้ำมะนาวใส่ลงไปในเบกกิ้งโซดาจะเกิดฟองขึ้น


➤Assessment (การประเมิน)

Teacher : อาจารย์มีความรับผิดชอบ เเละคอยให้คำเเนะนำในส่วนที่นักศึกษาในเนื้อหาที่ยังไม่เข้าใจอย่างใกล้ชิด

Friend :ฟังเพื่อนนำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์อย่างตั้งใจ เเละมีส่วนร่วมในการทดลอง

Self :  ฟังเพื่อนนำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์อย่างตั้งใจ เเละมีการจดบันทึกวิธีการทดลองของเพื่อนเเต่ละคนที่นำเสนอ



Learning log 8

(บันทึกการเรียนครั้งที่8)


Friday  5  October 2018  (วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.2561)  

 Time: 8.30-12.30 am.





➤Knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)

      วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอการทดลองของเเต่ละคน จากเเผ่นความรู้บ้านวิทยาศาสตร์ ดังนี้👇



                                           นางสาวขนิษฐา   สมานมิตร  (ทดลองเรื่อง  เอดิเคเตอร์จากพืช)

วิธีการทดลอง

นำกรดต่างๆเช่น น้ำมะนาว น้ำเปล่า เเละเบกกิ้งโซดา มาหยดใส่ในสีจากกระหล่ำปลีสีม่วง จากการทดลองพบว่า
👉  การที่นำน้ำมะนาวหยดใส่ในน้ำที่มีสีจากกระหล่ำปลีสีม่วงพบว่าน้ำเปลี่ยนเป็นสีเเดง
👉 การที่น้ำเปล่าหยดใส่ในน้ำที่มีสีจากกระหล่ำปลีสีม่วงพบว่าน้ำไม่มีการเปลี่ยนสีเเต่อย่างใด
👉 การที่น้ำเบกกิ้งโซดาหยดใส่ในน้ำที่มีสีจากกระหล่ำปลีสีม่วงพบว่าน้ำเป็นสีม่วง

สรุปการทดลอง

น้ำมะนาวเเละเบกกิ้งโซดามีค่าเป็นกรดจึงทำให้น้ำมีการเปลี่ยนสี



นางสาววสุธิดา   คชชา  (ทดลองเรื่อง  การละลายของน้ำตาล)

วิธีการทดลอง

นำสีผสมอาหารมาหยดลงที่น้ำตาลก้อน  เเละน้ำตาลทั้ง 2 ก้อนใส่ในน้ำ เเละสังเกตความเปลี่ยนเเปลง

สรุปการทดลอง

การที่น้ำตาลก้อนมีการละลาย เกิดจากภายในน้ำตาลก้อนมีอากาศ เมื่อมีน้ำเข้ามาเเทนอากาศจึงทำให้น้ำตาลเกิดการละลาย




นางสาววิจิตรา  ปาคำ  (ทดลองเรื่อง  ความลับของสีดำ)

วิธีการทดลอง

นำปากกาเมจิกสีดำทั้งกันน้ำเเละไม่กันน้ำ มาวาดลงในกระดาษ เเละหยดน้ำลงในเเผ่นกระดาษทั้ง 2 เเผ่น

สรุปการทดลอง

การที่หยดน้ำลงบนเเผ่นกระดาษที่เขียนด้วยปากกาเมจิกที่ไม่มีสารกันน้ำทำให้สีมีการกระจายออก  ส่วนการหยดน้ำที่เเผ่นกระดาษที่มีการวาดโดยปากกาเมจิกที่มีสารกันน้ำจึงไม่มีการกระจายตัวของสี




นางสาวกิ่งเเก้ว  ทนนำ  (ทดลองเรื่อง  เเสงเเละภาพ)

วิธีการทดลอง

วาดรูปลงบนเเผ่นใสเเละนำกระดาษสีดำมาประกบเเผ่นใสเเละสังเกตการเปลี่ยนเเปลง

                                                                               สรุปการทดลอง

การวาดรูปลงบนเเผ่นใสเเละนำกระดาษสีดำมาประกบเเผ่นใสจะทำให้ไม่เห็นภาพที่เราวาด เเต่การวาดรูปลงบนเเผ่นใสเเละนำกระดาษสีขาวมาประกบเเผ่นใสจะทำให้เราเห็นภาพที่วาด



➤Assessment (การประเมิน)

Teacher : อาจารย์มีความรับผิดชอบ เเละคอยให้คำเเนะนำในส่วนที่นักศึกษาในเนื้อหาที่ยังไม่เข้าใจอย่างใกล้ชิด

Friend :ฟังเพื่อนนำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์อย่างตั้งใจ เเละมีส่วนร่วมในการทดลอง

Self :  ฟังเพื่อนนำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์อย่างตั้งใจ เเละมีการจดบันทึกวิธีการทดลองของเพื่อนเเต่ละคนที่นำเสนอ


วันอังคารที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Learning log 7

(บันทึกการเรียนครั้งที่7)


Friday  21  September 2018  (วันศุกร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ.2561)  

 Time: 8.30-12.30 am.




➤Knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)

      วันนี้อาจารย์ได้เเจกเเผ่นความรู้บ้านวิทยาศาสตร์ให้นักศึกษาเเต่ละคน  ให้นักศึกษาอ่านเเละสรุปดังนี้



เรื่อง ไฟฟ้าสถิต

เรื่อง ติดหนึบโดยไม่ต้องใช้กาว

เเนวคิดหลักของการทดลอง

วัตถุบางชนิดเมื่อมีการเสียดสีกันจะมีการถ่ายเทอิเล็กตรอนให้กัน เเละเมื่อเเยกออกจากกันจะทำให้วัสดุเเต่ละอันมีไฟฟ้าสถิต วัสดุที่มีประจุไฟฟ้าต่างกันจะดูดเข้าหากันส่วนวัสดุที่มีประจุไฟฟ้าเหมือนกันจะผลักกัน

ปัญหา

ลูกโป่งสามารถติดกับผนังโดยไม่ต้องใช้กาวได้อย่างไร?

สมมติฐาน

ถ้านำผ้าขนสัตว์มาถูบริเวณลูกโป่งเเล้วนำไปติดกำเเพงจะเกิดอะไรขึ้น?

การทดลอง

1.เตรียมลูกโป่งเเละผ้าขนสัตว์

2.นำผ้าขนสัตว์ หรือ ถุงเท้า หมวก ผ้าพันคอ มาถูบริเวณรอบๆลูกโป่ง

3.นำลูกโป่งที่ได้ถูด้วยผ้าขนสัตว์ไปใกล้กับกำเเพงเเละสังเกตว่าลูกโป่งมีปฏิกิริยาอย่างไรเมื่อใกล้กับกำเเพง

สรุป

เมื่อวัสดุเกิดการเสียดสีกัน จะมีการถ่ายเทประจุไฟฟ้า ส่วนอิเล็กตรอนจากผ้าขนสัตว์ จะเคลื่อนที่มายังลูกโป่ง เนื่องจากการเสียดสีมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ เเละผ้าขนสัตว์มีประจุไฟฟ้าเป็นบวกดังนั้นการที่ลูกโป่งมีประจุไฟฟ้าที่เป็นลบเเละผ้าขนสัตว์ที่มีประจุไฟฟ้าเป็นบวกเสียดสีกันจะทำให้เกิดการดึงดูดคล้ายๆเเม่เหล็ก

      หลังจากนั้นอาจารย์ก็ได้เเจกเเกนกระดาษทิชชู่ให้นักศึกษาคนละ 1 เเกน เเละให้นนักศึกษาประดิษฐ์สื่อการสอนวิทายาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยวัยจากเเกนกระดาษทิชชู่คนละ 1 อย่าง 



👉ตุ๊กตาล้มลุก👈


วัสดุอุปการณ์

1.จานกระดาษ

2.เเกนกระดาษทิชชู่

3.กรรไกร

4.กระดาษสี

5.กาวสองหน้า

วิธีทำ

1.นำจานกระดาษมาตัดเป็นวงกลมตรงกลางตามเเกนกระดาษทิชชู่

2.หลังจากที่ตัดจานกระดาษเป็นวงกลมเเล้วให้นำเเกนทิชชู่ใส่เข้าไปในรูที่ตัดไว้เเละพับจานกระดาษเเละนำกาวสองหน้าติดยึดไว้กับเเกนกระดาษทิชชู่

3.ตกเเต่งให้สวยงามตามความคิด

➤Assessment (การประเมิน)

Teacher : อาจารย์มีความรับผิดชอบ คอยให้คำเเนะนำในส่วนที่นักศึกษายังไม่เข้าใจอย่างใกล้ชิด

Friend : ประดิษฐ์สื่อวิทยาศาสตร์อย่างตั้งใจ 

Self :  คิดเเละประดิษฐ์สื่อวิทยาศาสตร์อย่างตั้งใจ

Learning log 6

(บันทึกการเรียนครั้งที่6)


Friday  14  September 2018  (วันศุกร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ.2561)  

 Time: 8.30-12.30 am.

➤Knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)

      วันนี้อาจารย์ได้พูดในเรื่องของวิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่ได้มอบหมายให้นักศึกษาไปค้นคว้ามา เเละให้นักศึกษานำวิจัยที่ได้หามาให้อาจารย์ดู ว่าวิจัยของเเต่ละคนที่หามามีวิจัย 5 บทหรือไม่ เเละวิจัยที่หามาไม่ควรต่ำกว่า พ.ศ. 2555  หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาสรุปวิจัย  ตัวอย่างการสอน  เเละบทความ ที่นักศึกษาได้หามาลงในบล็อคให้เรียบร้อย

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

1. การตั้งปัญหาที่อยากรู้
2. การค้นคว้าเเละการสำรวจ
3. อธิบายเเละสรุป
4. ขยายความรู้
5.การประเมิน

➤Assessment (การประเมิน)

Teacher : อาจารย์มีวิธีการสอนที่ดี สามารถทำให้นักศึกษาเข้าใจได้ง่ายเเละมีการถามเพื่อเเลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักศึกษาเสมอ ซึ่งเป็นการให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น

Friend : ตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี เเละตั้งใจตอบคำถามที่อาจารย์ถาม

Self :  เข้าเรียนตรงเวลา เเละตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี

Learning log 5

(บันทึกการเรียนครั้งที่5)


Friday  7  September 2018  (วันศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ.2561)  

 Time: 8.30-12.30 am.


➤Knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)

      วันนี้อาจารย์ติดงานราชการ จึงได้มอบหมายงานให้นักศึกษาเเต่ละกลุ่มร่วมกันปรึกษาเเละวางเเผนกันภายในกลุ่มในเรื่องการจัดฐานกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เเห่งชาติ


➤Assessment (การประเมิน)

Teacher : อาจารย์มีความรับผิดชอบ คอยให้คำเเนะนำในส่วนที่นักศึกษายังไม่เข้าใจอย่างใกล้ชิด

Friend : ร่วมกันวางเเผนกิจกรรมอย่างตั้งใจ

Self :  ร่วมกันวางเเผน เเละคิดกิจกรรมร่วมกับเพื่อนภายในกลุ่ม